หน้าแรก

"การออกแบบอัตลักษณ์"




        การออกแบบอัตลักษณ์ คือ การออกแบบอัตลักษณ์ขององค์กรหรือแบรนด์สินค้า ที่ไม่ได้หมายถึงการสร้างแบรนด์หนึ่งๆ โดยตรง แต่เป็นหน้าต่างสำคัญที่จะกำหนดหน้าตาและทิศทางของแบรนด์นั้นๆ ได้ การออกแบบอัตลักษณ์นี้จึงไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะมันไม่ใช่แค่การออกแบบ “โลโก้” แล้วนำไปประยุกต์ใช้กับเครื่องมือสื่อสารทั้งหมดของแบรนด์ CI Design คือ การออกแบบ “ภาพลักษณ์ทั้งหมดของแบรนด์” ที่จะทำให้คนภายนอกสัมผัสได้เฉกเช่นเดียวกับที่องค์กรต้องการสื่อออกไป เรียกว่า ถ้าพลาดก็อาจทำให้ภาพของแบรนด์บิดเบี้ยวไปเลยก็ได้





          คำว่า “อัตลักษณ์” ไม่มีบันทึกไว้ในพจนานุกรม แต่มีตำราหลายเล่มให้ความหมายคำว่า “อัตลักษณ์” ไว้ว่า คุณลักษณะเฉพาะตัว ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ของลักษณะเฉพาะของตัวบุคล สังคม ชุมชน หรือประเทศนั้นๆ เช่น เชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรมท้องถิ่น และศาสนา ฯลฯ ซึ่งมีคุณลักษณะที่ไม่ทั่วไปหรือสากลกับสังคม อื่นๆ กล่าวคือ ลักษณะที่ไม่เหมือนกับของคนอื่นๆ “อัตลักษณ์” มาจากภาษาบาลีว่า อตฺต + ลักษณ โดยที่ “อัตตะ” มีความหมายว่า ตัวตน, ของตน ส่วน “ลักษณะ” หมายถึง สมบัติเฉพาะตัว หากมองเพียงแค่รูปศัพท์ “อัตลักษณ์” จึงเหมาะจะนำมาใช้หมายถึงลักษณะเฉพาะตัวของสิ่งใดสิ่งหนึ่งมากกว่า ส่วนคำว่า “เอกลักษณ์” มีคำว่า “เอก” ซึ่งหมายถึง หนึ่งเดียว จึงน่าจะหมายความว่าลักษณะหนึ่งเดียว (ของหลายๆ สิ่ง) หรือลักษณะที่ของหลายๆ สิ่งมีร่วมกัน ซึ่งเป็นความหมายแรกตามพจนานุกรมอย่างไรก็ดี คนไทยโดยส่วนใหญ่ยังนิยมใช้คำว่า “เอกลักษณ์” ในความหมายว่าลักษณะเฉพาะตัวที่ไม่เหมือนใครอย่างกว้างขวาง ส่วนคำว่า “อัตลักษณ์” นั้นมักจะใช้ในวงแคบๆ เช่นแวดวงวิชาการเท่านั้น และบางครั้งก็ใช้แบบมีนัยยะแฝง เช่น “เอกลักษณ์” เป็นสิ่งตายตัวไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ส่วน “อัตลักษณ์” สามารถเปลี่ยนแปลงได้ แต่กระนั้นก็ยังไม่มีข้อบัญญัติการใช้ที่ชัดเจน

( ที่มา : http://panupat-arti3901.blogspot.com/2012/07/logo.html )




_______________________________________________________________________________




สรุปข่าว

Mimi's Cafe




ABOUTHow do you infuse American comfort food with distinctly French flavor? By harkening back to period driven by typography and illustration and blending it with modern takes on American classics

BrandRefresh
Challenge : Explore a refresh of a dated brand to coincide with the restaurant's new direction in leadership, food, and store design. Execution : The existing brand leaned on a series of complex illustrations and heavy-handed typography. We developed a series of brand stories built around a streamlined illustration style which hinted at the French roots while maintaining appeal to a mainstream American audience.


แปลโดย Google แปลภาษา

เกี่ยวกับ คุณจะทำอย่างไร ใส่ อาหารความสะดวกสบายที่มีรสชาติอเมริกันฝรั่งเศสอย่างเห็นได้ชัด ? โดย harkening กลับไป ช่วงเวลาที่ ขับเคลื่อนโดยการ พิมพ์ และ ภาพประกอบ และการผสม กับ โมเดิร์น คลาสสิก จะใช้เวลาใน อเมริกัน

ยี่ห้อ 
รีเฟรช 
ท้าทาย : สำรวจการรีเฟรชแบรนด์ลงวันที่ให้ตรงกับทิศทางใหม่ของร้านอาหารในการเป็นผู้นำ , อาหาร, และการออกแบบ ร้าน

การดำเนินการ : แบรนด์ที่มีอยู่แล้วโน้มตัวในชุดของภาพประกอบ ที่ซับซ้อนและหนักพิมพ์เราได้พัฒนาชุดของเรื่องราวแบรนด์ สร้างขึ้นรอบๆ สไตล์ภาพประกอบคล่องตัว ซึ่งเป็นนัยรากฝรั่งเศส ขณะที่ยังคงดึงดูดผู้ชมชาวอเมริกันหลัก


แปลโดยสำนวนของตัวเอง

โลโก้นี้เปรียบได้เหมือนอาหารที่มีรสชาติอเมริกันและฝรั่งเศสผสมผสานกัน ออกแบบโดย harening ใช้เวลาออกแบบโลโก้นี้ที่อเมริกา โดยใช้การผสมผสานระหว่างสไตล์โมเดิร์นและคลาสสิกไปในตัว

เป็นแบรนด์ที่มีอยู่แล้ว และได้พัฒนาเรื่องราวที่เกิดขึ้นรอบๆตัว เป็นสไตล์ภาพประกอบ ซึ่งมีรากของฝรั่งเศสในเรื่องราว แต่ยังคงดึงดูดผู้ชมชาวอเมริกันเป็นหลัก

ที่มา : https://www.behance.net/gallery/33954794/Mimis-Cafe


Lucky Charms Rainbow

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น